ระบบสายลำเลียงและรถAGV
ยินดีตอนรับสู่blog ของ อนัส
วันอังคารที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2564
ระบบสายลำเลียงและรถAGV
หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
หุ่นยนต์อุตสาหกรรม
1. Play Back Robot เป็นหุ่นยนต์ทำงานตามชุดคำสั่งที่บันทึกไว้ โดยชุดคำสั่งการทำงานจะถูกบันทึกไว้ในเครื่องบันทึกความจำ ตัวอย่างเช่น ชุดคำสั่งเกี่ยวกับลำดับขั้นตอนการทำงาน และการปรับตำแหน่ง เป็นต้น ชุดคำสั่งดังกล่าวจะถูกเรียกออกมาสั่งให้หุ่นยนต์ทำงานตามที่ได้บันทึกไว้ การบันทึกความจำนั้นนิยมใช้วิธีสอนให้หุ่นยนต์ทำงาน
2.หุ่นยนต์เชื่อม
หนึ่งในหุ่นยนต์สำคัญในอุตสาหกรรมการผลิตของไทย เนื่องจากอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์มีการใช้หุ่นยนต์ประเภทนี้สูง
โดยหุ่นยนต์เชื่อมจะมีลักษณะเป็นแขนหุ่นที่มีส่วนปลายเป็นหัวเชื่อมเหล็ก มักทำงานร่วมกับระบบสายพานที่คอยส่งวัสดุเข้ามาในระยะ แขนหุ่นจะทำการเชื่อมวัสดุตามจุดต่างๆ โดยอัตโนมัติตามที่มีการตั้งค่าไว้ ซึ่งสามารถทำได้แม่นยำมากกว่ามนุษย์
ตัวอย่างเช่น Fanuc ARC Welding Robot ที่มีการออกแบบมาเพื่อการเชื่อมไฟฟ้าโดยเฉพาะ ซึ่งสามารถรับน้ำหน้กได้ถึง 20 กก. และมีระยะเอื้อม 2 เมตร ใช้ได้ทั้งการเชื่อมไฟฟ้า เชื่อมเลเซอร์ บัดกรี หรืองานตัดประเภทต่างๆ
3.หุ่นยนต์ตรวจสอบความปลอดภัย
ยิ่งอุตสาหกรรมพัฒนามากขึ้น ความปลอดภัยก็ยิ่งเป็นสิ่งสำคัญมากขึ้นตาม งานหลายงานมีความเสี่ยงเกินกว่าจะให้มนุษย์ดำเนินการหรืออยู่ในจุดที่คนทั่วไปยากจะเข้าถึง ด้วยเหตุผลเหล่านั้นทำให้หุ่นยนต์ตรวจสอบความปลอดภัยโรงงานเข้ามามีบทบาท เช่น
- - ตรวจสอบสารพิษที่รั่วไหลในโรงงาน เนื่องจากหุ่นยนต์สามารถเข้าไปในที่ๆ คนเข้าไม่ถึงโดยไม่ต้อง สวมชุดป้องกันได้
- - ตรวจสอบระบบไฟฟ้า ด้วยอินฟาเรดหรืออุปกรณ์ตรวจจับอื่นๆ เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มีไฟฟ้ารั่วไหล
- - ตรวจสอบปล่องควันหรือจุดที่อยู่สูง ทำให้ไม่ต้องมีการปิดโรงงานทั้งโรงเพื่อซ่อมบำรุง
- - ตรวจสอบวัสดุในโรงงาน เช่น หุ่นยนต์ตรวจสอบความหนาของถังสารเคมี
ซึ่งหุ่นยนต์ทั้งหมดก็มีตั้งแต่ทำงานแบบอัตโนมัติ ไปจนถึงทำงานโดยมีคนควบคุมอยู่เบื้องหลัง
วันอังคารที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564
เครื่องจักร NC เครื่อง CNCเครื่องจักร DNC
เครื่องจักร NC
เครื่องจักรNC ย่อมาจาก Numerical Control หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่.ในปัจจุบันระบบ NC จะถูกแทนที่ด้วยระบบ NC เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ NC ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย NC ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว.
1.ชุดคำสั่ง (Programmed)
2.หน่วยควบคุมการทำงานของเครื่องหรือเอ็มซียู (MCU : Machine Control Unit)
คือส่วนที่ทำหน้าที่อ่านและตีความหมายของคำสั่งเพื่อแยกคำสั่งออกเป็นสัญญาณไปควบคุมเครื่องจักรต่อไป ประกอบไปด้วยเครื่องอ่านเทปช่องส่งสัญญาณควบคุม(Control Output Signal) ระบบการตรวจสอบแล้วส่งผลย้อนกลับ(Feedback Transducer) และแผงควบคุม(Control Panel) สำหรับควบคุมการเปิด/ปิดเครื่องจักร NC
3.เครื่องจักร NC(NC Machine Tool)
เป็นส่วนที่ใช้ในการขึ้นรูปชิ้นงานตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่เราเขียนขึ้น
วีดีโอการทำงานเครื่องNC
เครื่อง CNC
การทำงานCNC
เครื่องจักร DNC
ดีเอ็นซี (DNC) Distribution Numerical Control คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรมNC Data กับหน่วยควบคุม NC ของเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละตัวได้เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการข้อมูลทั้งรับข้อมูล และส่งข้อมูลจำเพราะให้กับเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละเครื่องในเครือข่ายตามที่แต่ละเครื่องต้องการพร้อมๆ กันได้ในเวลาเดียวกัน
การทำงานของเครื่อง DNC
รายชื่อ ห้อง B
ลำดับ ชื่อ - สกุล URL รหัสนักศึกษา
อาจารย์ธภัทร ชัยชูโชค อาจาย์ปาล์ม
1 นายศุภกร สังข์ทอง โอม 636715027
2 นายซิทดิคก์ เตาวะโต ดิคก์ 636715028
3 นายณัฐสิทธิ์ อินคง จอม 636715029
4 นายฟาร์ฮัตร์ ง๊ะสมัน ฟาร์ฮัตร์ 636715030
5 นายอุดมเลิศ แซ่ลี้ โอ๊ต 636715031
6 นายจุฑา รอดอยู่ อัด 636715032
7 นายอารีฟีน มะ ฟีน 636715033
8 นายนพดล มีแก้ว เมฆ 636715034
9 นายอภิสิทธิ์ หลีหะรัน รีน 636715035
10 นายอามัล ยะระ อามัล 636715036
11 นายฮาฟิซ เลาะแม เฮาะ 636715037
12 นายกิตติภณ ไชยมณี แจม 636715038
13 นายเพชรชล บุญศรีเพชร เบนซ์ 636715039
14 นายซัลมาน หะยีหะซา เมา 636715040
15 นายมูฮำหมัดชารีฟ ดายอ ชารีฟ 636715041
16 นายอนุวัฒน์ เตะเส็น ซัน 636715042
17 นายอนิรุจธิ์ อิสอีด ฟารุจ 636715043
18 นายอนัส แวดือเร๊ะ จอน 636715044
19 นายอภิสิทธิ์ เจะหลง ดิส 636715045
20 นายกิตติธัช สมชัย เจม 636715046
21 นายอิรฟาน ยีหมาด แฟ๊บ 636715047
22 นายเฉลิมชัย ยิ้มห้วน เจมส์ 636715048
23 นายสุกฤษฎิ์ ดวงแข อ้วน 636715049
24 นายฮาฟีซี แดเม๊าะ ยี 636715050
25 นายอัฏฮา สิเดะ ฮา 636715051
26 นายภานุพงศ์ ยิ่งขจร พุต 636715052
วันอังคารที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2564
บทความทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร
Edge Computing
Edge Computing เป็นรูปแบบหนึ่งของ Cloud Computing ซึ่งเดิมที เราอาจคุ้นเคยกับคำว่า Cloud Computing กันอยู่บ้าง หากแต่โครงสร้าง Cloud แบบเดิมจะรวมการประมวลผลทุกอย่างอยู่บน Cloud และเก็บข้อมูลทุกอย่างไว้ใน Data Center เพียงแห่งเดียว
ในขณะที่ Edge Computing นั้น จะทำการประมวลผลข้อมูลที่อยู่ใกล้กับแหล่งข้อมูล หรือเรียกว่าประมวลผลตรงปลายทางหรือขอบของโครงข่าย (Edge of the Network) ซึ่งการประมวลผลแบบ Edge จะช่วยลดเวลาแทนที่ใช้ขนส่งข้อมูลไปกลับจากระบบ Cloud ให้มากที่สุด ในส่วนของความจำเป็นหลักที่ทำให้การประทวลผลอยู่ที่ต้น/ปลายทาง (Edge) ก็เพื่อเป็นการผลักภาระการประมวลผลข้อมูลไปยังอุปกรณ์ที่ Edge ของเครือข่าย โดย Edge สามารถประมวลข้อมูลได้จากอุปกรณ์หลายตัว และย่อส่วนข้อมูลลงอีกด้วย
ข้อดีของ Edge Computing มีโดยคร่าว ดังนี้ - ลดเวลาในการรับส่งข้อมูล (Decreased Latency)
Edge Computing ช่วยสร้างความได้เปรียบด้านความเร็วในการรับส่งข้อมูล เนื่องจากข้อมูลจะไม่ต้องถูกโอนส่งไปยังศูนย์ข้อมูลก่อนแล้วค่อยตีกลับมาอีกครั้ง จึงทำให้ระยะเวลาการรับส่งข้อมูลสั้นลง (ปกติแล้วเวลาเครื่องมือสื่อสารกับเซิฟเวอร์ที่ห่างออกไป จะต้องส่งข้อมูลไปยังศูนย์ข้อมูลก่อนและรอคอยผลลัพธ์ในการเดินทางย้อนกลับ) - ประหยัดแบนด์วิธ (Bandwidth) และ เซิฟเวอร์ (Server)
เนื่องจากปัจจุบันทุกครอบครัวมีการใช้งานอุปกรณ์อัจฉริยะกันเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็น Smart Cameras, Printers หรือ Thermostats หากต้องส่งข้อมูลไปยัง Cloud พร้อมๆ กัน จะต้องใช้ Bandwidth จำนวนมหาศาลตามไปด้วย การใช้ Edge computing จะช่วยให้อุปกรณ์ต่างๆ ที่มีระบบ AI อยู่ในอุปกรณ์นั้นสามารถประมวลผลข้อมูลในตัวได้เลย ส่งผลให้ประมวลผลบน Cloud ลงลง เนื่องจากเป็นการย้ายระบบประมลผลไปดูใกล้ต้น/ปลายทางแทน ดังนั้น Edge Computing จึงช่วยลดปริมาณการใช้งาน Bandwidth และ Server ลงได้- ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัย (Privacy & Security)
ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยเป็นประเด็นที่ทุกคนให้ความสำคัญ เช่น การเก็บข้อมูลลายนิ้วมือลงในอุปกรณ์ iPhone และ iPad ของ Apple นั้น ก็เป็นอีกหนึ่งตัวอย่าง ซึ่ง Apple ได้มีนโยบายที่ชัดเจนในเรื่องการเก็บข้อมูลลายนิ้วมือของผู้ใช้งาน ที่จะต้องจัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์เท่านั้นและไม่สามารถนำข้อมูลลายนิ้วมือออกมาได้ ดังนั้น การที่ไม่จำเป็นต้องนำข้อมูลส่งออกไปจัดเก็บหรือประมวลผลที่อื่น จะช่วยให้การบริหารจัดการข้อมูลอยู่ที่จุดเดียว และช่วยในเรื่องความปลอดภัยของข้อมูลได้- ฟังก์ชั่นการทำงานอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้นมา
ฟังก์ชันการทำงานใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เช่น บริษัทต่างๆ สามารถใช้ Edge Computing ในการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลที่อุปกรณ์ปลายทาง หรือ Edge ซึ่งส่งผลให้การวิเคราะห์และประมวลผลเหล่านั้นสามารถทำได้แบบ Real-Time
ข้อเสียของ Edge Computing
1. จากการที่มีทรัพยากรที่มาจากหลายแห่ง จึงอาจเกิดปัญหาด้านความต่อเนื่องและความรวดเร็ว
2. ยังไม่มีการรับประกันในการทำงานอย่างต่อเนื่องของระบบและความปลอดภัยของข้อมูล
3. แพลทฟอร์มยังไม่ได้มาตรฐาน ทำให้ลูกค้ามีข้อจำกัดสำหรับตัวเลือกในการพัฒนาหรือติดตั้งระบบsite
4. เนื่อง จากเป็นการใช้ทรัพยากรที่มาจากหลายที่หลายแห่งทำให้อาจมีปัญหาในเรื่องของ ความต่อเนื่องและความเร็วในการเข้าทรัพยากรมากกว่าการใช้บริการ Host ที่ Local หรืออยู่ภายในองค์การของเราเอง
วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นาย อนัส แวดือเร๊ะ รหัสนักศึกษา 636715044
ชื่อเล่น นัส
เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมไฟฟ้า 2 ปีต่อต่อเนื่อง
โทรศัพท์ 062-2707083
ชื่อบิดา นาย มูหัมมัดอามีน แวดือเร๊ะ
มารดา นางรุสณี แวดือเร๊ะ
มีพี้น้อง ทั้งหมด 3 คนผมเป็นคนโต
จบจาก วิทยาลัยสารพัดช่าง
การแข่งขันประจำใจเมือง ไม่มีวันซ้ำรอย
Facebook : จอห์น นอนเล่น
IG : nxxs.97s
ระบบสายลำเลียงและรถAGV
ระบบสายลำเลียงและรถAGV 1.ระบบสายพานลำเลียง ( Belt Conveyor ) คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor ) ที่ใช้สายพาน (Belt) เป็นตัวนำพาวัสดุ ระบบสาย...